ทุนทาคาฮาชิ

นิสิตได้รับทุนมูลนิธิทาคาฮาชิ

ภาควิชาวัสดุศาสตร์ ขอแสดงความยินดีกับนิสิตของภาควิชาฯ ที่ได้รับการคัดเลือกจากมูลนิธิทาคาฮาชิ เพื่อมอบทุนสนับสนุนการดำเนินงานโครงการวิจัย Senior Project ระดับชั้นปีที่ 4 หลักสูตรปริญญาบัณฑิต สาขาวิชาวัสดุศาสตร์ ดังต่อไปนี้ 1. โครงการการพิมพ์สามมิติเซรามิกพรุนไฮดรอกซีอะพาไทต์สำหรับโพรงเลี้ยงเซลล์กระดูกเทียมดำเนินโครงการโดย น.ส.ศุภาพิซญ์ ทวีผลสมเกี่ยรติ และ น.ส.ณัชฌา สีมาตรา อาจารย์ที่ปรึกษาโครงการคือ ผศ.ดร.ธนากร วาสนาเพียรพงศ์ 2. โครงการการรีไซเคิลลูกถ้วยไฟฟ้าในการทำเป็นอิฐปูทางเท้าที่น้ำซึมผ่านได้ ดำเนินโครงการโดย นายรวิพล ยุทธดนัยกุล น.ส.สวรส

Read More »
sukitta

ขอแสดงความยินดีกับนิสิตของภาควิชาฯ เข้ารับรางวัลในพิธีประกาศเกียรติคุณ “บุคคลคุณภาพแห่งปี 2022” (Quality Persons of the Year 2022)

ภาควิชาวัสดุศาสตร์ ขอแสดงความยินดี แก่นางสาวสุขิตา ภูชะธง นิสิตภาควิชาฯ ชั้นปีที่ 3 ที่ได้รับรางวัล “ทุนเยาวชนคุณภาพแห่งปี 2022” จากพิธีประกาศเกียรติคุณ “บุคคลคุณภาพแห่งปี 2022” (Quality Persons of the Year 2022) ของมูลนิธิสภาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (มสวท.) เนื่องในวันเทคโนโลยีแห่งชาติ (19 ตุลาคม 2565)

Read More »
sukita

นิสิตของภาควิชาได้รับทุนเยาวขนคุณภาพแห่งปี 2022

ภาควิชาวัสดุศาสตร์ ขอแสดงความยินดี แก่นางสาวสุขิตา ภูชะธง นิสิตภาควิชาฯ ชั้นปีที่ 3 เนื่องในโอกาสได้รับการคัดเลือกให้รับรางวัล “ทุนเยาวชนคุณภาพแห่งปี 2022” จากมูลนิธิสภาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (มสวท.) โดยนิสิตจะได้รับรางวัลทุนการศึกษาพร้อมประกาศนียบัตร และได้รับการจารึกชื่อลงในทำเนียบเยาวชนคุณภาพแห่งปี ในวันเทคโนโลยีแห่งชาติ (19 ตุลาคม 2565) ที่จะถึงนี้

Read More »
Preyaphat

Congratulations to Preyaphat Wongchaiya, Our PhD student, who has won the NIMS ICGP 2022

ขอแสดงความยินดีกับ นางสาวปรียาภัทร วงค์ไชยา ในโอกาสได้รับการคัดเลือกให้รับทุนไปทำงานวิจัยระดับปริญญาเอกที่ National Institute for Materials Science (NIMS) ประเทศญี่ปุ่น  ——————–Congratulations to Preyaphat Wongchaiya, a PhD student of the Department of Materials Science, Faculty

Read More »

รับสมัคร นิสิตใหม่ ป.โท และ ป.เอก (Graduate Student Admission)

Previous Next ภาควิชาวัสดุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเปิดรับสมัครนิสิตใหม่เข้าเรียนในภาคปลาย ปีการศึกษา 2565 ระหว่างวันที่ 1 ก.ย. – 31 ต.ค. 2565 (เริ่มเรียนภาคปลาย มกราคม 2566)มีหลักสูตรเปิดรับสมัครดังนี้1. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์พอลิเมอร์ประยุกต์และเทคโนโลยีสิ่งทอ2. หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีเซรามิก3. หลักสูตรวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวัสดุศาสตร์ผู้สนใจสามารถติดตามรายละเอียดประกาศรับสมัครและสมัครผ่านระบบออนไลน์ ผ่านเว็บไซต์บัณฑิตวิทยาลัย https://www.register.gradchula.com———————————————————————-Open the

Read More »
icta2022

ICTA 2022

การประชุมวิชาการระดับนานาชาติ International Conference on Traditional and Advanced Ceramics 2022 และร่วมชมนิทรรศการ การแสดงสินค้า ที่เกี่ยวข้องกับงานวิจัยและอุตสาหกรรมเซรามิก รวมถึงวัสดุขั้นสูง ในงาน ASEAN Ceramics 2022 มีกำหนดจัดงานระหว่าง 30 พฤศจิกายน – 2 ธันวาคม 2565

Read More »
Conradt

Enhancing Furnace Performance by the Choice of Raw Materials

#MatSciCU ขอเชิญผู้สนใจ (นิสิตและบุคคลทั่วไป) ฟังบรรยายพิเศษ โดย Prof. Dr. Reinhard Conradt, President of the International Commission of Glass (ICG)หัวข้อ “Enhancing Furnace Performance by the Choice of Raw

Read More »
MSCU-ITC

โครงการบริการวิชาการการพัฒนาหลักสูตรของ ITC ประเทศกัมพูชา

ภาควิชาวัสดุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ ได้จัดโครงการบริการวิชาการการพัฒนาหลักสูตรของ ITC ประเทศกัมพูชา ระหว่างวันที่ 18-22 กรกฎาคม 2565 โดยให้การต้อนรับคณาจารย์จาก INSTITUTE OF TECHNOLOGY OF CAMBODIA (ITC) ซึ่งประกอบไปด้วย Dr. Kimngun Bun, Dr. Phanny Yos และ Dr.

Read More »

Improving the technological properties of red stoneware tiles derived from Ratchaburi red clay by the addition of iron oxide

อ.ดร.อภิรัฐ ธีรภาพวิเศษพงษ์ ร่วมกับ ดร.สิริพรรณ นิลไพรัช และ ดร. นิธิวัชร์ นวอัครฐานันท์ นักวิจัยสถาบันวิจัยโลหะและวัสดุ จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัยได้พัฒนาเทคโนโลยีในการปรับปรุงคุณสมบัติของกระเบื้องเครื่องปั้นดินเผา  (red stoneware tiles)  จากดินแดงราชบุรี (Ratchaburi red clay) ซึ่งมีเหล็กออกไซด์เป็นองค์ประกอบที่พบปริมาณมาก  ถือว่าเป็นเอกลักษณ์หนึ่งของดินชนิดนี้ในการทำเครื่องปั้นดินเผาที่มีความแข็งแรงสูง  การปรับปรุงคุณสมบัติของเครื่องปั้นดินเผาจากดินราชบุรีโดยการเลือกใช้ปริมาณเหล็กออกไซด์ที่เป็นองค์ประกอบอย่างเหมาะสมสามารถลดอุณหภูมิในการเผาผนึกลง โดยที่เนื้อเซรามิกที่ได้มีความแข็งแรงสูงขึ้นและมีการดูดซึมน้ำต่ำลง   ซึ่งเป็นประโยชน์ในการพิจารณาเลือกใช้หรือกำหนดลักษณะเฉพาะของวัตถุดิบประเภทดินแดงสำหรับงานเซรามิกระดับอุตสาหกรรม อ่านบทความได้ที่https://doi.org/10.1016/j.cscm.2022.e00983

Read More »
thThai
Scroll to Top