รางวัล “โครงการพัฒนาศักยภาพงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาปี พ.ศ. 2565”

ภาควิชาวัสดุศาสตร์ขอร่วมแสดงความยินดีกับ รศ.ดร. พรนภา สุจริตวรกุล ในโอกาสได้รับรางวัล “โครงการพัฒนาศักยภาพงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาปี พ.ศ. 2565″ ในหัวข้อวิจัย การพัฒนาตัวเร่งปฎิกิริยาเชิงแสงฐานโซเดียมแทนทาเลตที่ตอบสนองต่อแสงในช่วงที่ตามองเห็น”

Read More »

Reaction mechanisms of calcined kaolin processing waste-based geopolymers in the presence of low alkali activator solution

รองศาสตราจารย์ ดร. ศิริธันว์ เจียมศิริเลิศ และคณะผู้วิจัยได้ประสบความสำเร็จในการพัฒนาวัสดุจีโอพอลิเมอร์จากฐานวัสดุเหลือทิ้ง (กากดินขาวล้าง) ด้วยกระบวนการเตรียมที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมโดยการใช้สารกระตุ้นแอลคาไลน์ปริมาณต่ำในกระบวนการขึ้นรูปแบบอัด ส่งเสริมทำให้เกิดปฏิกิริยาจีโอพอลิเมอไรเซชันที่มีประสิทธิภาพที่สูงขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับการใช้สารละลายแอลคาไลน์สูงในกระบวนการขึ้นรูปแบบหล่อแบบ จุดเด่นของจีโอพอลิมอร์ที่ถูกพัฒนาขึ้นในกระบวนการอัดนี้สามารถให้ประสิทธิภาพค่ากำลังรับแรงอัดที่สูงและสามารถลดระยะเวลาการบ่มลง โดยที่เวลาบ่ม 7 วัน (มีค่า 26.98 เมกะปาสคาล) มีค่าที่ใก้ลเคียงกับระยะเวลาบ่ม 28 วัน (มีค่า 28.55 เมกะปาสคาล) และผลจากงานวิจัยนี้ยังเป็นการเพิ่มมูลค่าให้กับวัสดุเหลือใช้ เพิ่มศักยภาพของวัสดุในประเทศ ผลงานของนิสิต

Read More »

ZnFe2O4 Magnetic Nanoparticle–Polydiacetylene–Zinc(II) Composites for Real-Time Nanothermometers and Localizable Acid/Base Sensors

ศ. นิศานาถและคณะวิจัย ได้ประสบความสำเร็จในการนำออกแบบวัสดุ polydiacetylene ร่วมกับวัสดุ magnetic , ZnFe2O4 ในระดับนาโน โดยวัสดุ PDA/Zn2+/ZnFe2O4 ที่สังเคราะห์สามารถแสดงสมบัติการเปลี่ยนเฉดแบบผันกลับได้ในช่วงอุณหภูมิ 25 ถึง 95 °C, สามารถแสดงตอบสนองการเปลี่ยนสีแบบ real time ภายใต้สนามแม่เหล็ก, และสามารถแสดงสมบัติการเปลี่ยนเฉดสีภายใต้สภาวะกรดและเบส อ่านต่อเพิ่มเติมได้ที่ https://doi.org/10.1021/acsanm.1c00160

Read More »

Reversible thermochromic polydiacetylene/zinc-aluminium layered double hydroxides nanocomposites for smart paints and colorimetric sensors: The crucial role of zinc ions

ศาตราจารย์ นิศานาถ และคณะผู้วิจัยได้ประสบความสำเร็จในการนำวัสดุ zinc-aluminium layered double hydroxides (ZnAl-LDH) มาใช้ร่วมกับ polydiacetylene (PDA) ด้วยกระบวนการผสมที่เรียบง่ายที่ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อใช้ในการพัฒนาวัสดุ reversible thermochromism ที่สามารถเปลี่ยนสีได้ช่วงอุณหภูมิ  50 to 90 องศาเซลเซียส   วัสดุคอมพอสิต (PDA/Zn2+/ZnAl-LDH)ที่ถูกพัฒนาขึ้นแสดงช่วงเชดสีที่เปลี่ยนเพิ่มมากขึ้นและคงเสถียรภาพของสีได้ดีแม้ในสภาวะ กรด-เบส และตัวทำละลายอินทรีย์ ด้วยสมบัติดังกล่าวทำให้สามารถขยายขีดจำกัดในการใช้งานและขยายการใช้งานในอุตสาหกรรมสีและสารเคลือบขนาดใหญ่  อ่านต่อเพิ่มเติมได้ที่  https://doi.org/10.1016/j.colsurfa.2020.125733

Read More »

Young Thai Science Ambassador​ 2021

ภาควิชาวัสดุศาสตร์ ขอร่วมแสดงความยินดี กับนางสาว สุขิตา ภูชะธง นิสิตชั้นปีที่ 2 ในโอกาสได้รับรางวัล นักสื่อสารวิทยาศาสตร์ ยอดเยี่ยม (Young Thai Science Ambassador 2021, YTSA#17)

Read More »

Synthesis of color-responsive polydiacetylene assemblies and polydiacetylene/zinc(II) ion/zinc oxide nanocomposites in water, toluene and mixed solvents: Toward large-scale production

Polydiacetylenes (PDAs) วัสดุตัวรับรู้ที่สามารถเปลี่ยนสีภายใต้สิ่งเร้าภายนอก ถูกนำมาเพิ่มขีดความสามารถด้วยการทำวัสดุคอมพอสิต PDA/Zn2+/ZnO nanocomposites ด้วยกระบวนการที่เรียบง่ายโดยสังเคราะห์ผ่านตัวกลางทำละลายโทลูอีนที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรม และยังสามารถนำมาใช้ในการสร้างตัวรับรู้ในรูปแบบของแข็งได้อย่างหลากหลาย เช่น สารเคลือบกระจก, หมึกสีบนกระดาษ รวมไปถึงการนำมาผสมกับพอลิเมอร์ชนิดต่างๆ เช่น พอลิเอทิลีน พอลิสไตรีน พอลิเมทิลอะคริเลต และพอลิ 4-ไวนิลไพริดีน โดยเฉพาะการผสมในสีอะคริลิกที่สามารถขยายขีดความสามารถของตัวรับรู้ให้ประยุกต์การใช้งานได้อย่างกว้างขวาง ผลงานวิจัยของทีมวิจัย ศ. ดร. นิศานาถ ไตรผลอ่านต่อเพิ่มเติมได้ที่https://www.sciencedirect.com/…/pii/S0927775721003009

Read More »

รับสมัคร นิสิตใหม่ ป.โท และ ป.เอก (Graduate Student Admission)

Previous Next เปิดรับสมัครเข้าศึกษาต่อระดับปริญญาโทและปริญญาเอก ภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษา 2565 ——————————- เปิดรับสมัคร 2 รอบ รอบที่ 1 : วันที่ 1 กุมภาพันธ์ – 31 มีนาคม 2565 รอบที่ 2 : วันที่ 1

Read More »

Solution-mixing method for large-scale production of reversible thermochromic and acid/base-colorimetric sensors

การพัฒนากระบวนการเตรียมพอลิไดแอเซทิลีน/ซิงก์/ซิงก์ออกไซด์นาโนคอมพอสิต ที่มีสมบัติ reversible thermochromic ด้วยเทคนิคsolution mixing ในเฟสของเหลวอย่างง่ายที่สามารถนำไปสู่การขยายสเกลระดับอุตสาหกรรม โดย ศ.ดร. นิศานาถ ไตรผล และทีมวิจัย อ่านต่อบทความได้ที่https://doi.org/10.1016/j.colsurfa.2021.126241

Read More »

อาจารย์ของภาควิชาฯ ได้รับรางวัลการวิจัยแห่งชาติ : รางวัลผลการวิจัย ประจำปีงบประมาณ 2565

Previous Next ภาควิชาวัสดุศาสตร์ ขอแสดงความยินดีกับ ศาสตราจารย์ ดร. นิศานาถ ไตรผล จากผลงานวิจัยเรื่อง “การควบคุมพฤติกรรมการเปลี่ยนสีของพอลิไดอะเซทติลีนแอสเซมบลี : อิทธิพลของการจัดเรียงตัวสายโซ่ สารเติมแต่งแอลกอฮอล์ พอลิเมอร์ และตัวทำละลาย”และ รศ.ดร. มัณทนา โอภาประกาสิต จากผลงานวิจัยเรื่องในหัวข้อเรื่อง “การวิจัยและพัฒนาพลาสติกชีวภาพสมบัติเฉพาะฐานพอลิแลคติกแอซิดและกระบวนการรีไซเคิลทางเคมีสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืนตามหลักการเศรษฐกิจหมุนเวียน (BCG)” ในโอกาสได้รับ รางวัลการวิจัยแห่งชาติ: รางวัลผลวิจัย ประจำปีงบประมาณ 2565

Read More »
thThai
Scroll to Top