Research updates

Controllable Morphology of Sea-Urchin-like Nickel–Cobalt Carbonate Hydroxide as a Supercapacitor Electrode with Battery-like Behavior
“การศึกษาการควบคุมสัณฐานวิทยาของวัสดุนิเกิล-โคบอลต์แบบ Sea-Urchin ที่ให้ประสิทธิภาพการเก็บพลังงานสูง ร่วมกับการศึกษากลไกลการเก็บประจุพลังงานด้วยเทคนิค time-resolved X-ray absorption spectroscopy” โดยงานวิจัยของ นายณัฐพงษ์ ภูมิผิว นิสิตระดับ ปริญญาเอก ภาควิชาวัสดุศาสตร์ อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.ดร.ประสิทธิ์ พัฒนะนุวัฒน์ และ ศ.ดร.ประณัฐ โพธิยะราช อ่านบทความต่อได้ที่https://doi.org/10.1021/acsomega.1c02139

Extraction of Nanofibrillated Cellulose from Water Hyacinth Using a High Speed Homogenizer
“เส้นใยนาโนเซลลูโลสสกัดจากวัชพืชผักตบชวาด้วยกระบวนการโฮโมจีไนเซชันด้วยแรงเชิงกลสูงเพื่อใช้สำหรับพัฒนานาโนเมมเบรนที่มีความแข็งแรงสูงและการสะท้อนน้ำสูง” โดยงานวิจัยของนางสาวศิริลักษณ์ เมฆฉ่ำ และนางสาวโชติรส คงวิทยา นิสิตระดับปริญญาตรี ภาควิชาวัสดุศาสตร์ อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.ดร.อัญญพร บุญมหิทธิสุทธิ์ และ ผศ.ดร.สุภโชค ตันพิชัยอ่านบทความต่อได้ที่ https://doi.org/10.1080/15440478.2021.1889432

Improvement of alkali resistance of glass fiber from basalt and lignite bottom ash mixture by addition of ZrO2 content
“การผสมหินบะซอลต์ที่มีซิลิกาสูงกับเถ้าหนักจากโรงไฟฟ้าแม่เมาะช่วยลดอุณหภูมิการหลอมและขึ้นรูปเส้นใยแก้ว เมื่อเพิ่มสมบัติความต้านทานต่อสภาพความเป็นด่างด้วยการเติม ZrO2 ทำให้สามารถนำเส้นใยแก้วที่ผลิตได้นี้ในงานคอนกรีตเสริมแรง แผ่นไฟเบอร์บอร์ด ไฟเบอร์ซีเมนต์ และงานอื่น ๆ ที่ใช้งานในสภาพความเป็นด่างได้” โดย อ.ดร. อภิรัฐ ธีรภาพวิเศษพงษ์อ่านต่อได้ที่ http://jmmm.material.chula.ac.th/…/jmmm/article/view/1099

Role of Ag (0) deposited on TiO2 nanoparticles for superior photocatalytic performance induced by calcination
“ตัวเร่งปฎิกิริยาเชิงแสงไทเทเนียมไดออกไซด์ระดับนาโนเมตรเพื่อยกระดับประสิทธิภาพในการบำบัดมลพิษในน้ำเสีย” โดยงานวิจัยของ นางสาวธนภรณ์ นาคบัวแก้ว นิสิตระดับปริญญาเอก ภาควิชาวัสดุศาสตร์ และ อาจารย์ที่ปรึกษา รศ.ดร.พรนภา สุจริตวรกุล อ่านบทความต่อได้ที่https://doi.org/10.1016/j.optmat.2019.109407

Novel electrode composites of mixed bismuth-iron oxide / graphene utilizing for photo assisted supercapacitors
“ตัวเก็บประจุยิ่งยวดเชิงแสงจากวัสดุฐานบิสมัสออกไซด์ /แกรฟีนออกไซด์ สามารถยกระดับการเก็บพลังงานไฟฟ้าภายใต้พลังงานแสงอาทิตย์ได้มากขึ้นกว่า 39%” โดยงานวิจัยของ นางสาว Husna Haromae นิสิตระดับปริญญาโท สาขาพอลิเมอร์ประยุกต์ และเทคโนโลยีสิ่งทอ และ อาจารย์ที่ปรึกษา ผศ.ดร.ประสิทธิ์ พัฒนะนุวัฒน์อ่านบทความต่อได้ที่ https://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S001346862100030X?via%3Dihub